จากการพูดคุยกับอ.ประจำคณะวิศวกรรมศาสตร์ คาดว่าสาเหตุนั้นน่าจะเกิดจาก
1.ก่อนการเทปูนเพื่อสร้างพื้นชั้น2นั้นจะต้องมีการสร้างนั่งร้านเพื่อเป็นโครงยันปูนไว้ก่อน
ซึ่งสาเหตุการถล่มนั้นเกิดจากการสร้างนั่งร้านไม่เพียงพอ ทำให้ไม่สามารถรับน้ำหนักปูนได้
2.การเทปูนนั้นอาจจะเทปูนไปที่จุดๆเดียวกัน และเนื่องจากคนงานก่อสร้างน้อยทำให้
การเกลี่ยปูนทำได้ช้า เมื่อเวลาผ่านไปโครงสร้างจึงไม่สามารถรับน้ำหนักของปุนที่
มากองกันที่เดียวได้จึงเกิดการถล่มลงมา
ตึกศึกษาศาสตร์หลังถล่ม 16/8/53 |
ไม่มีความคิดเห็น:
แสดงความคิดเห็น